Copyright 2024 - งานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา ๓๗๗ ถนนบ้านหม้อ แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐

 ระดับและสาขาวิชาที่เปิดสอน

                        นักเรียน-นักศึกษาที่เข้าศึกษาต่อ ตั้งแต่ปีการศึกษา 255(หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562) และ (หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557)

ระดับ

ประเภทวิชา

สาขาวิชา

ระบบ

ปวช.

คหกรรม

*อาหารและโภชนาการ(MEP)

ปกติ

อาหารและโภชนาการ

ปกติและทวิภาคี

คหกรรมศาสตร์

ปกติ

อุตสาหกรรมท่องเที่ยว

**การโรงแรม (EP)

ปกติ

การโรงแรม

ปกติ

ศิลปกรรม

วิจิตรศิลป์

ปกติ

การออกแบบ

ปกติ

ศิลปหัตถกรรม

ปกติ

การพิมพ์สกรีน

ปกติ

ออกแบบนิเทศศิลป์

ปกติ

ปวส.

คหกรรม

อาหารและโภชนาการ

ปกติและทวิภาคี

*THAI-FOOD-CHEF (MEP)

ปกติ

การบริหารงานคหกรรมศาสตร์

ปกติ

อุตสาหกรรมท่องเที่ยว

การโรงแรม

ทวิภาคี

**การโรงแรม (EP)

ทวิภาคี

หมายเหตุ :   * Mini English Program หมายถึง หลักสูตรเรียนภาษาอังกฤษอย่างน้อย 4 รายวิชา/ภาคเรียน สอนโดยเจ้าของภาษา
                 ** English Program หมายถึงหลักสูตรเรียนภาษาอังกฤษ (ยกเว้นวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย)

 

การจัดอาชีวศึกษาทวิภาคี

            การจัดอาชีวศึกษาทวิภาคี (Dual Vocational Education) เรียกชื่อย่อว่า DVE. เป็นความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ โดยสถานศึกษาจะเน้นการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี และการปฏิบัติขั้นพื้นฐาน  ส่วนสถานประกอบการ จะเน้นการฝึกทักษะอาชีพ การฝึกปฏิบัติจริงในสาขาวิชาชีพ

1. ระดับ และสาขางานที่เปิดสอน

          ปีการศึกษา 2559 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา เปิดสอนอาชีวศึกษาทวิภาคี 3 สาขางานดังนี้

1.1      สาขางานอาหารและโภชนาการ

-     ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

1.2     สาขางานการประกอบอาหาร

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

1.3     สาขางานบริการอาหารและเครื่องดื่ม

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

2. วัตถุประสงค์ของการจัดอาชีวศึกษาทวิภาคี

    2.1  เพื่อพัฒนาบุคลากร ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    2.2  เพื่อพัฒนาบุคลากร ให้มีฝีมือ ความรู้ ความสามารถ ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ

    2.3  เพื่อเตรียมบุคลากรไว้ทดแทนการขาดแคลนในอนาคต

    2.4 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามความต้องการของสถานประกอบการ

    2.5  เพื่อเปิดโอกาสให้สถานประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดอาชีวศึกษาเพื่อพัฒนาบุคลากรทั้งในสถานศึกษาและสถานประกอบการให้มีศักยภาพสูงขึ้น

    2.6  หลักสูตรการอาชีวศึกษา

    2.7  การทำสัญญาการฝึกอาชีพ

f t g m